ReadyPlanet.com
dot
Our Product by SilkLeaf
dot
bulletCatalogue
bulletProducts
dot
บ้านนี้มีอะไร
dot
bulletBreastfeeding/Baby
bulletBaby Wearing/Baby Sling
bulletBe Happy-Food/Herb
bulletBusy Busy please relax
bulletPregnancy/Birth/Mamy
bulletProfessional
bulletประชุม สัมมนา
bulletแนะนำหนังสือ
dot
อยากรู้ต้องอ่าน / สนับสนุน
dot
bulletLact Med.Search-Medication & BF
bulletมูลนิธิส่งเสริมการคลอดและเลี้ยงลูกด้วยนมแม่แห่งประเทศไทย
bulletInternational Lactation Consultant Association:ILCA
bulletIBLCE
dot
BLOG
dot
bulletBirth a Baby BLOG in Thai
bulletBreastfeeding BANGKOK BLOG in English
dot
ขอข้อมูลเพิ่มเติม

dot
dot
E-Learning
dot
bullet เรียน online-Stanford's short course on Breastfeeding
bullet เรียน online-U of Minnesota center of spiritual
bulletเรียน online USAID Global Health E-learning Center
bulletเรียน online กับ มหาวิทยาลัยCornell เรื่อง Nutrition
bulletเรียนonline กับOpen2Study Australia
bulletเรียนOnlne กับ Health e-learning Free
bulletเรียนonline Gold Lactation Conferences
dot
Online Journal
dot
bulletJournal of Neonatal Nursing
bulletMIDIRS/ Midwifert Digest
bulletJournal of Midwifery & Women's Health
bulletBritish Journal of Midwifery
bulletWomen and Birth Journal
bulletJournal of Human Lactation
bulletPediatrics
bulletThe Royal College of Midwives:RCM publication
bulletBirth Journal
dot
Resource
dot
bulletMidwifery Today
bulletThe Rainbow Room
bulletInfant Risk Center
dot
องค์กรด้านสุขภาพและครอบครัว
dot


มูลนิธิส่งเสริมการคลอดและเลี้ยงลูกด้วยนมแม่แห่งประเทศไทย
BAMBI:A Project of Childbirth&Breastfeeding Foundation of Thailand
Thai Breastfeeding Center
Hale Publishing
Rainbow Room
สมาคมพยาบาลนมแม่ประเทศไทย


การคุมกำเนิดกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ article
การคุมกำเนิดในหญิงที่กำลังเลี้ยงลูกด้วยนมแม่มีข้อควรระวังดังนี้
 
1.ควรเลือกชนิดที่ไม่มีผลต่อการสร้างน้ำนมทั้งในด้านการลดปริมาณและคุณภาพของน้ำ
 
2.เลือกชนิดที่ไม่มีผลต่อสุขภาพของเด็กจากการที่มีตัวยาผ่านทางน้ำนม             
 
3.เลือกชนิดที่ไม่มีผลกระทบกับสุขภาพของแม่
 
วิธีการคุมกำเนิดที่เหมาะสมในระยะให้นมได้แก่
1. การคุมโดยวิธีธรรมชาติ LAM-Lactation Amenorrhea Method
2. ยาฉีดคุมกำเนิด
3. ยาฝังคุมกำเนิด
4. ห่วงอนามัย
5. ถุงยางอนามัย
6. ยาเม็ดคุมกำเนิด 
 
Ø การคุมโดยวิธีธรรมชาติ LAM-Lactation Amenorrhea Method
ในขณะที่ลุกดูดนมแม่ระดับฮอร์โมน Prolactin จะสูงขึ้นทำให้ยับยั้งการตกไข่ ในแม่ที่ให้ลูกดูดนมจากเต้าสม่ำเสมออย่างน้อยทุก 3-4 ชม.จะทำให้สามารถควบคุมการตกไข่ได้ถึง 95% การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวจะเป็นการคุมกำเนิดตามธรรมชาติได้ 70วัน แต่ถ้าไม่ได้ให้นมลูกเลยจะมีไข่ตกใน 45 วันหลังคลอด ดังนั้น 6 สัปดาห์แรกหลังคลอดจะยังไม่มีการตั้งครรภ์ แต่หลังจากนั้นควรต้องมีการคุมกำเนิดอย่างอื่นร่วมด้วย ในแม่ที่ให้นมลูกอย่างเดียว 6 เดือนและยังไม่มีประจำเดือนพบว่าอัตราการตั้งครรภ์มีเพียง 0.45-0.9%
 
Ø ยาเม็ดคุมกำเนิด
ชนิดที่มีฮอร์โมนที่มีผลกดการหลั่งของ Prolactin และการสร้างน้ำนม เช่น Estrogen ,Androgenจึงควรหลีกเลี่ยง และควรใช้ Estrogenเป็นส่วนประกอบหลัก ได้แก่ Exluton จะไปยับยั้งการตกไข่และการมีไข่สุก ทำให้มูกที่ปากมดลูกเหนียวข้น sperm ว่ายผ่านได้ยาก และยังทำ ให้เยื่อบุมดลูกฝ่อตัวไม่เหมาะกับการฝังของตัวอ่อน แต่จะมีข้อเสียที่ประสิทธิผลต่ำ ถ้าไม่ได้ให้นมแล้วโอกาสตั้งครรภ์สูงถึง 1.2%ผลข้างเคียงอาจทำให้มีเลือดออกทางช่องคลอดกระปริดประปอย
 
ข้อห้ามใช้ในกรณีต่อไปนี้
·มะเร็งของอวัยวะสืบพันธุ์ และเต้านม
·การทำงานของตับผิดปกติ
·เป็นโรคของถุงน้ำดี
·เป็นหัวใจและหลอดเลือด
นอกจากนี้ยังควรเพิ่มความระมัดระวังในรายผู้ป่วยเบาหวาน โรคลมชัก ลิ้นหัวใจรั่ว ไมเกรน ซึมเศร้า SLE อายุมากหรือสูบบุหรี่
 
Ø ยาฉีด พวก DMPA ( Depomeddroxprogesterone Acetate) หรือ Depo-provera
จัดอยู่ในLactation Risk Category L1 เป็นสารสังเคราะห์มาจาก Progesteroneที่อยู่ในรูปของ Microcrytalline ทำให้อยู่ในกระแสเลือดนาน เมื่อฉีดเข้ากล้ามระดับฮอร์โมนจะสูงขึ้นอย่างรวดเร็วจนสูงสุดในวันที่ 7 หลังฉีดยาและจะลดระดับลง ออกฤทธิ์โดยการยับยั้งการตกไข่ ทำให้มูกที่ช่องคลอดเหนียว เยื่อบุมดลูกฝ่อ การฉีดยาทุก 12 สัปดาห์พบการตั้งครรภ์น้อยกว่า 0.5% ผลข้างเคียง อาจพบการมีเลือดระดูผิดปกติได้ 39% โดยเฉพาะใน 3-6 เดือนแรก บางรายน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นตั้งแต่ 1-5 กิโลกรัมใน 1 ปีแรกเพราะทำให้หิวบ่อย พบได้ถึง 75%
 
Ø ยาฝังคุมกำเนิด
ได้แก่ Norplant,Implanon เป็นโปรเจสเตอรโรนอย่างเดียว ส่วนใหญ่จะอยู่ใน กลุ่ม L2 ตัวยาดูดซึมเร็วออกฤทธิ์ป้องกันใน1 วัน อัตราการตั้งครรภ์ใน 3 ปีแรกเป็น 0% หลังถอดยาภาวะเจริญกลับคืนอย่างรวดเร็ว มีผลข้างเคียงน้อยกว่ายาฉีด อาจมีผลกับระดับไขมันในเส้นเลืดอ มีข้อห้ามใช้ในผู้ป่วยโรคตับ โรคหลอดเลือดดำอุดตัน หรือแพ้ส่วนประกอบของ Implanon
 
Ø ห่วงอนามัย ( Intra Uterine Devices)
กลไกการทำงานโดยการขวางกั้นการฝังตัว แต่อาจมีผลข้างเคียงคือ อาจเป็นลมหลังใส่ห่วงจาการขยายของปากมดลูกขณะใส่ ปัญหาห่วงหลุด ห่วงทะลุ เลือดออกกระปิดกระปรอย ตกขาว ปวดท้องน้อย ควรระมัดระวังในรายท้องนอกมดลูก เลือดจาง ผู้ที่เคยมีอาการมดลูกอักเสบ มีเนื้องอกของมดลูก เป็นต้น
 
Ø การใช้ถุงยางอนามัย
เป็นวิธีที่ง่ายและไม่มีผลกระทบต่อร่างกายของแม่และลูกรวมทั้งไม่กระทบการผลิตน้ำนม ยาคุมทุกชนิดควรเริ่มหลังจาก 6 สัปดาห์หลังคลอดหรือจนกว่าการผลิตน้ำนมจะเป็นไปได้ดีและควรสังเกตการเพิ่มของน้ำหนักตัวของเด็กเสมอ การคลอดที่ดี เพื่อสุขภาพที่ดีของแม่และลูก น้ำนมแม่ดีที่สุดสำหรับลูก
 
Reference
1.สาหรี จิตินันท์และคณะ,เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ความรู้สู่ปฎิบัติ.การคุมกำเนิดกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ สำนักพิมพ์กรุงเทพเวชสาร.2546,หน้า 207-214 
 
2.เยาวลักษณ์ รพีพัฒนา.เอกสารประกอบการอบรมโรงพยาบาลสมิติเวชสุขุมวิท, การคุมกำเนิดกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่. 2548 
 
3.Hale Thomas,Medication and Mothers’ Milk,11th.Pharmasoft Publication,2004



Breast...Breastfeeding

เต้านมเล็กจะเต้านมเล็กจะมีน้ำนมพอให้ลูกกินไหม
ขนาดหน้าอกไม่เท่ากัน เพราะให้ลูกดูดนมข้างเดียว
เราจะรู้ได้อย่างไรว่าน้ำนมเสียต้องทิ้ง?
ถ้าไม่ใช้เครื่องปั้มจะบีบน้ำนมอย่างไร?
เจ็บหัวนม หัวนมแตก ควรให้ลูกกอนนมต่อไหม?
หากหัวนมเป็นแผลจนเลือดออกหรือแผลเป็นหนองสามารถให้ลูกกินนมแม่ได้ไหม?
แม่ป่วยหรือต้องอยู่ในระหว่างการรักษาต้องหยุดให้นมไหม?
ไม่ทันได้เตรียมเต้านม เตรียมตัวตอนท้องจะให้นมลูกได้ไหม?
กินยาแก้แพ้ส่งผลต่อน้ำนมไหมคะ ?!
วิธีสังเกตดูสีน้ำนมแม่
การเก็บรักษานมแม่ไว้นอกเต้า article
จะรู้ได้อย่างไรว่าลูกอิ่มแล้ว
เวลาจะให้ลูกกินนมที่แช่ไว้ต้องทำอย่างไร?
เก็บน้ำนมได้นานแค่ไหน?
ต้องให้ลูกกินนมแม่นานเท่าไร article
ถ้าต้องไปทำงาน จะเก็บน้ำนมอย่างไร?
ควรเริ่มให้กินนมแม่เมื่อไร? 🤱
🚨 ผู้ใหญ่บอกให้งดของแสลง แล้วของต้องห้ามของแม่ที่ให้นมลูกต้องระวังคืออะไรค่ะ?
น้ำนมน้อยอย่างไรดี 🤱
กลุ้มใจ...น้ำนมไม่ไหลทำอย่างไรดี article
น้ำนมแม่ปกป้องสายตาเจ้าตัวเล็ก
Too Much 0r Too Little
นมไหนว่าแน่ นมแม่แน่กว่าใคร article
“ทำอึ๋ม” อุปสรรคให้นมแม่
นมแม่แน่ยังไง
ลักษณะของน้ำนมแม่
อะไรช่วยให้แม่เลี้ยงลูกด้วยนำ้นมแม่ได้สำเร็จ
เด็กเล็กควรดูแลอย่างไรในภาวะน้ำท่วม
นมแม่ แน่กว่าเป็นไหนๆ
กินนมแม่อย่างไรป้องกันภัยจากโรคหวัดสายพันธ์ุใหม่2009 article
นมแม่ครั้งแรกไม่ยากอย่างที่คิด
เรื่องของเต้านมและน้ำนม
อุ้มลูกดูดนมแม่อย่างถูกวิธี
เด็กไทยในยุคนมมหาภัย
เตรียมหัวนมก่อนคลอด
BPA : คุณภาพหรือมาตราฐานที่ต้องรู้สำหรับขวดนม
เทคนิกการคำนวณนมแม่
ให้ลูกกินนมแม่ทำอย่างไร article
สัปดาห์นมแม่โลก 2554 นมแม่ บอกทั่วทิศ ด้วยจิตอาสา
WBW2009 BF in emergency
World Breastfeeding Week 2010 : สัปดาห์นมแม่โลก 2553
สายใยรักนมแม่ cafe :22 พฤศจิกายน2552
WBW2009
Breastfeeding Cafe article
baby
เด็กเกิดมาเพื่อให้โลกนี้งดงามและผาสุก article
โรงพยาบาลสายใยรัก article